หน้าหลัก ธรรมะออนไลน์ เรียงตามอริยสัจสี่ และพระอาจารย์
Search:
หน้าแรก : หมวดธรรมออนไลน์

“..... บุคคลที่ยังมีตัณหา มานะ ทิฎฐิ อาศัยอยู่ ย่อมมีความหวั่นไหว
ความหวั่นไหวย่อมไม่มี แก่บุคคลที่ไม่มีตัณหา มานะ และทิฎฐิอาศัยอยู่
เมื่อความหวั่นไหวไม่มี ย่อมมี ความสงบระงับ
เมื่อมีความสงบระงับ ย่อมไม่มีความเพลิดเพลิน ความมาความไปก็ไม่มี
เมื่อจุติและอุบัติไม่มี โลกนี้และโลกหน้า และระหว่างโลกทั้ง ๒ ก็ไม่มี
นี้แหละเป็นที่สุดแห่งทุกข์

หนังสือ พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์
รองศาสตราจารย์แสง จันทร์งาม



มรรคอริยสัจ(มรรค) :: [สัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ)]
ที่ พระอาจารย์ ชื่อเรื่อง ชื่อแผ่น คลิกฟัง
1พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)สัมมาทิฏฐิ อบรมภิกษุสามเณรธรรมเทศนา - ภาษาไทย 105 ขันธ์
2พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)สร้างสัมมาทิฏฐิ.mp3CD_007 (01)
3พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)สร้างสัมมาทิฏฐิจากจิตภาวนา.mp3CD_007 (01)
4พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)สัมมาทิฏฐิ.mp3CD_007 (01)
5สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯกิจของผู้ปฏิบัติเป็นสัมมาทิฏฐิแผ่นที่ 11
6สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสรุปสัมมาทิฏฐิ อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดอาสวะแผ่นที่ 05
7สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๑ กุศล อกุศลแผ่นที่ 04
8สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๒ อาหารแผ่นที่ 04
9สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๓ อริยสัจ๔แผ่นที่ 04
10สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๔ ชรา มรณะแผ่นที่ 04
11สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๕ ชาติ..นัย ๑แผ่นที่ 04
12สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๕ ชาติ..นัย ๒แผ่นที่ 04
13สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๖ ภพ..นัย ๑แผ่นที่ 04
14สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๖ ภพ..นัย ๒แผ่นที่ 04
15สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๗ อุปาทานแผ่นที่ 04
16สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๘ ทิฏฐุปาทานแผ่นที่ 04
17สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ 0๙ สืลัพพตุปาทานแผ่นที่ 04
18สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๐ อัตตวาทุปาทานแผ่นที่ 04
19สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๑ สักกายทิฏฐิแผ่นที่ 04
20สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๒ ตัณหา..นัย ๑แผ่นที่ 04
21สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๒ ตัณหา..นัย ๒แผ่นที่ 05
22สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๓ เวทนาแผ่นที่ 05
23สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๔ ผัสสะแผ่นที่ 05
24สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๕ อายตนะแผ่นที่ 05
25สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๖นามรูปแผ่นที่ 05
26สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๗ รูปแผ่นที่ 05
27สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๘ วิญญาณแผ่นที่ 05
28สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๑๙ สังขารแผ่นที่ 05
29สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๒๐ อวิชชา..นัย ๑แผ่นที่ 05
30สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯสัมมาทิฏฐิ ๒๐ อวิชชา..นัย ๒แผ่นที่ 05
         
หน้า   1 2
 

ย้อนกลับ

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก